10/01/2560

[VDI Project Ulteo : Part 1] Install Ubuntu Server

วันนี้จะมานำเสนอการทำ VDI (Vitual Desktop Infrastructure) โดยใช้ Ulteo ที่เป็น Open Source ครับ  โดย จะเลือกใช้ แบบ Community ที่จะฟรี แต่จะมี ข้อกำหนดหรือข้อจำกัดในการใช้ไม่เท่ากับ Premium โดยจะมี Tables แสดงการเปรียบเทียบว่า ทำอะไรได้บ้าง โดย  Official site สามารถดูได้ที่  ULTEO OVD EDITION COMPARISON     โดยหลักๆที่เห็นได้อย่างชัดเจนก็คือ

ตัว Community  นั้นสามารถ เข้าผ่านได้ แค่ หน้า web เท่านั้น แต่ตัว Premium  มีTools ที่ให้เราสามารถใช้งานได้ทุกที่ทุกเวลา นั้นก็คือผ่านทาง Tablet หรือ Smart Phone ที่รองรับ ทั้ง Android && iOS   วันนี้ทางผู้เขียนจะมานำเสนอการInstall แบบ Community โดยจะใช้ Ubuntu Server 10.04 เป็นหลักในการติดตั้ง หรือ version  ที่สูงกว่าก็ได้  โดยสามารถ Download ได้ที่ Official Site  Ubuntu Server Download

ขั้นตอนแรก ใส่แผ่น ลงไปแล้ว boot เครื่อง จะเจอหน้า ให้เลือกภาษา เลือกเสร็จ กด Enter

ต่อมาจะเจอหน้าเมณู ให้เลือก Install Ubuntu Server


รอซักพักจะมีให้เลือกภาษาอีกรอบเลือกเสร็จกด enter


หลังจากนั้นจะมีให้เลือก ตำแหน่งของประเทศที่อยู้ เลือกเสร็จ กด enter


หลังจากนั้นจะึ้น Show Dialog เพื่อถามว่าจะปรับภาษา Keyboard ไหม ให้ตอบ NO


หลังจากนั้นจะมีให้เลือกภาษาสำหรับ Keyboard


จะมีให้เลือกภาษา Keyboard Layout


รอ ซักพัก มันกำลัง จะ Installและตั้งค่า Dhcp อัติโนมัติ สำหรับเครื่องที่รองรับ DHCP SERVER


เมื่อเสร็จสิ้น จะมีให้กรอก  Hostname เมื่อเสร็จสิ้น กด Continue




จะมีDialog ถามว่า เวลาเครื่อง ตรงหรือไม่ ตอบ Yes


จะมี Dialog ถามว่า ต้องการ แบ่ง Partition  ไหม ให้เลือก Use entire Disk เป็น ค่าเริ่มต้น


หลังจากนั้นจะ Show Dialog เพื่อถามว่าจ้องการ แบ่งdisk นี้ใช่ไหม กด Enter



หลังจากนั้นจะถามว่าต้องการ เปลี่ยน แปลงหรือไม่ ตอบ YES





รอซักพักจนกว่าจะขึ้น Dialog ให้ใส่ชื่อ User เมื่อเสร็จสิ้นกด Continue


จะมีDialog สำหรับใส่ Account ลงไป *แนะนำให้เป็นชื่อเดียวกับ User ที่กรอกเมื้อกี้   



หลังจากนั้น จะมีหน้าให้กรอก Password สำหรับ User


หลังจากนั้น จะมี Dialog ถามว่าคุณต้องการ ที่จะเข้า รหัส Encryption ที่ Home Directory ไหม ให้เลือก ตอบ Yes


รอซักพักจะมีDialog ถามว่า ต้องการ config  http proxy ไหม ให้ กด enter ไปเลย ปล่อยเป็นค่าว่างไว้ครับ



รอInstall ซักพัก จะมีDialog ถามว่า ต้องการ Update แบบ Auto ไหม ให้เลือก No Automatic Update


รอซักพักจะมี package ให้ Install เพิ่มเติม ในที่นี้ทางผู้เขียนเลือกใช้ Lamp Server กับ Open ssh server


จะขึ้น dialog  ให้ใส่ password สำหรับ MYSQL โดย Default  user คือ root  ใส่password ไป แล้ว enter

รอติดตั้งซักพักจะมีdialog ถามว่า ลงgrub ไหม ให้เลือก yes


หลังจากนั้น ก็จะแสดง dialog ว่า Install สำเร็จแล้ว เลือก continue


เท่านี้ก็จะติดตั้ง  Ubuntu Server ได้สำเร็จครับ ให้ใช้user

โดย ถ้าอยากจะแก้ไข ค่า IP Address ให้เป็น แบบ Static ให้ อยู่ใน root ก่อนนะครับ  ในการเป็น user root ให้ใข้ command sudo -s
โดย ผู้อ่านสามารถ เปลี่ยน password root ได้ โดนใช้ command  sudo passwd root ใส่รหัสผ่านเก่าแล้ว รหัสผ่านใหม่
ในการตั้งค่า IP Address นั้น ให้ใช้ command  sudo nano /etc/network/interfaces

--Command หลักๆ  Ubuntu --
sudo /etc/init.d/networking restart  <<Restart Service Network

sudo nano or vi /etc/resolv.conf << Edit or see DNS

sudo nano or vi /etc/hosts   << Edit or see hosts file 



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น